ครอบคลุมเครื่องใช้ไฟฟ้าฯ เพิ่มขึ้น 23 รายการ มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2021 นี้
ครอบคลุมเครื่องใช้ไฟฟ้าฯ เพิ่มขึ้น 23 รายการ มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2021 นี้
ECHA ประกาศ REACH SVHC-C Lot ใหม่ เมื่อ 15 มกราคม 2562 มีสารใหม่เพิ่มมา 6 รายการ ทำให้จำนวน SVHC-C รวมถึงปัจจุบันเป็น 197 รายการ
ตะกั่วไม่ใช่เรื่องใหม่ สำหรับอุตสาหกรรม โดยเฉพาะไฟฟ้าและยานยนต์ที่มีข้อห้ามภายใต้ RoHS/ELV,
REACH SVHC-C ก็ไม่ใช่เรื่องใหม่ - มีประกาศมาเรื่อยๆ ทุก 6 เดือนจนชิน
แต่... เมื่อตะกั่วเข้าไปอยู่ใน SVHC-C ผลกระทบอาจไกลเกินกว่าที่คิด
Tetrabromobisphenol A หรือ TBBPA เป็นสารหน่วงการติดไฟชนิดหนึ่ง ที่กำลังได้รับความสนใจเป็นพิเศษ ไม่เพียงเพราะความเป็นอันตรายของสารนี้ แต่เพราะ EU เริ่มเดินหน้าผลักดันกระบวนการทางกฎหมาย เพื่อเพิ่มสารนี้เข้าในบัญชีรายชื่อสารต้องห้ามตามระเบียบ RoHS
... แม้จะเป็นสารหน่วงการติดไฟคล้ายๆ กับ PBDE แต่สารนี้ไม่เหมือน PBDE หากจัดการแบบวิธีเดิมๆ ที่คุ้นเคย อาจสร้างความปั่นป่วนครั้งใหม่ให้วงการอิเล็กทรอนิกส์ได้
เมื่อ กรกฎาคม 2018 ที่ผ่านมา รัฐบาลสวีเดนได้เสนอรายงานผลการศึกษาการใช้ MCCP ต่อคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป (EC) เพื่อบรรจุเข้าในบัญชีรายชื่อสารต้องห้ามภายใต้ระเบียบ RoHS ขณะที่ EC รับลูกมอบหมาย Oeko-Institut ศึกษา-รวบรวมความเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตั้งเป้าได้ข้อสรุปก่อนสิ้นปี 2018 นี้
เมื่อเม.ย. 2018 ที่ผ่านมา Oeko Institut ได้เผยแพร่ List รายชื่อสารเคมี 7 รายการ*ที่จะทำการประเมินเพื่อผนวกเข้าในรายชื่อสารต้องห้ามตามระเบียบ RoHS โดย Oeko Institut ได้ให้เวลาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ข้อมูล 60 วัน (20/4-15/6/2018) เมื่อได้รับข้อมูล Oeko Institut มีหน้าที่ประมวลผล หาข้อสรุป และจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อเสนอต่อคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป (EC) ซึ่งก็จะมีการสอบถามความเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอีกรอบ (คาดว่าจะประมาณปลายปี) ก่อนที่จะมีการเสนอรายชื่อสารเคมีรายการใหม่ที่จะนำเข้าสู่กระบวนการ ขึ้นบัญชีสารต้องห้ามตาม RoHS ต่อไป
*(TBBPA, MCCP, ATO (Sb2O3), อินเดียมฟอสไฟด์, เบอริลเลียม และสารประกอบ, นิกเกิลซัลเฟตและนิกเกิลซัลฟาเมท, โคบอลไดคลอไรด์และโคบอลซัลเฟต)
We have 61 guests and no members online