รวมความหมายของคำศัพท์ REACH ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์
Term | Main definition |
---|---|
โลหะอัลลอย | โลหะ ที่ดูเป็นเนื้อเดียวกันในระดับมหภาค ที่ประกอบด้วยธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปที่ผสมรวมกันในลักษณะที่ไม่สามารถแยกธาตุเหล่านี้ออกจากกันได้ด้วยวิธีทางกล (“a metallic material, homogenous on a macroscopic scale, consisting of two or more elements so combined that they cannot be readily separated by mechanical means”) Ref: REACH มาตรา 3 (41) |
โมโนเมอร์ | "monomer: means a substance which is capable of forming covalent bonds with a sequence of additional like or unlike molecules under the conditions of the relevant polymer-forming reaction used for the particular process;" Ref: REACH มาตรา 3(6) |
โพลิเมอร์ | polymer: means a substance consisting of molecules characterised by the sequence of one or more types of monomer units. Such molecules must be distributed over a range of molecular weights wherein differences in the molecular weight are primarily attributable to differences in the number of monomer units. A polymer comprises the following:polymer: means a substance consisting of molecules characterised by the sequence of one or more types of monomer units. Such molecules must be distributed over a range of molecular weights wherein differences in the molecular weight are primarily attributable to differences in the number of monomer units. A polymer comprises the following:(a) a simple weight majority of molecules containing at least three monomer units which are covalently bound to at least one other monomer unit or other reactant;(b) less than a simple weight majority of molecules of the same molecular weight. Ref: REACH มาตรา 3(5) |
เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ | เจ้าหน้าที่หรือองค์กร ที่แต่งตั้งโดยประเทศสมาชิก เพื่อให้ทำหน้าที่ ตามที่กฎหมายฉบับนี้กำหนด (“authority or authorities or bodies established by the Member States to carry out the obligations arising from this Regulation”) Ref: REACH มาตรา 3 (19) |
องค์ประกอบหลัก | องค์ประกอบในสารเคมี ที่ไม่ใช่สารเติมแต่หรือสารปนเปื้อน ที่เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของสารเคมีชนิดนั้น ที่ใช้ในการให้ชื่อและบ่งชี้สารเคมี (“A constituent, not being an additive or impurity, in a substance that makes a significant part of that substance and is therefore used in substance naming and detailed substance identification") Ref: Guidance for identification and naming of substances under REACH and CLP, ECHA, May 2017 |
องค์ประกอบ | สิ่งใดๆ ที่มีอยู่ในสารเคมี ที่สามารถแยกลักษณะเฉพาะทางเคมีได้ (“Any single species present in a substance that can be characterised by its unique chemical identity”) Ref: Guidance for identification and naming of substances under REACH and CLP, ECHA, May 2017 |
ส่วนประกอบ | สารที่ตั้งใจใส่เพื่อทำให้เป็นเคมีภัณฑ์ (“Substance intentionally added to form a preparation”) Ref: Guidance for identification and naming of substances under REACH and CLP, ECHA, May 2017 |
สารเติมแต่ง | สารเคมีที่ตั้งใจใส่เพื่อรักษาเสถียรภาพของสารเคมี (“A substance that has been intentionally added to stabilise the substance”) Ref: Guidance for identification and naming of substances under REACH, ECHA |
สารเคมี | ธาตุหรือสารประกอบทางเคมี ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติ หรือที่ได้มาจากกระบวนการผลิต ทั้งนี้หมายรวมถึง สารเติมแต่ง ที่จำเป็นต้องใช้เพื่อให้ สสารหรือสารเคมีนั้นๆ คงสภาพอยู่ได้ และสารปนเปื้อนที่ติดมาจากกระบวนการผลิตที่ใช้ แต่ไม่รวมถึงตัวทำละลาย ที่สามารถแยกออกจาก "วัตถุ" นี้ได้โดยไม่ส่งผลต่อเสถียรภาพหรือส่วนผสมของ "วัตถุ" ชนิดนี้ (“a chemical element and its compounds in the natural state or obtained by any manufacturing process, including any additive necessary to preserve its stability and any impurity deriving from the process used, but excluding any solvent which may be separated without affecting the stability of the substance or changing its composition”) Ref: REACH มาตรา 3(1) |
สารปนเปื้อน | องค์ประกอบที่ไม่ได้ตั้งใจที่มีอยู่ในสารเคมีที่ผลิต สารนี้อาจมาจากวัสดุตั้งต้น หรืออาจเป็นผลจากปฏิกิริยาลำดับที่สองหรือการทำปฏิกิริยาที่ไม่สมบูรณ์ในระหว่างกระบวนการผลิต แม้จะมีสารปนเปื้อนปรากฏอยู่ในสารเคมีขั้นสุดท้าย แต่ไม่ได้เป็นการตั้งใจใส่ (“An unintended constituent present in a substance as produced. It may originate from the starting materials or be the result of secondary or incomplete reactions during the production process. While it is present in the final substance it was not intentionally added. ”) Ref: Guidance for identification and naming of substances under REACH and CLP, ECHA, May 2017 |
สารที่ได้แจ้งแล้ว | สารเคมีที่ได้มีการยื่นจดแจ้งแล้ว และเป็นสารที่สามารถวางตลาดได้ตามข้อกำหนดของระเบียบ 67/548/EEC (“a substance for which a notification has been submitted and which could be placed on the market in accordance with Directive 67/548/EEC”) Ref: REACH มาตรา 3 (21) |
สารที่มีองค์ประกอบเดียว | โดยหลักทั่วไป สารเคมีใดๆ ที่มีส่วนผสมของสารองค์ประกอบหลัก เกิน 80% โดยน้ำหนัก (“As a general rule, a substance, defined by its composition, in which one main constituent is present to at least 80% (w/w) ”) Ref: Guidance for identification and naming of substances under REACH and CLP, ECHA, May 2017 |
สารที่มีหลายองค์ประกอบ | โดยหลักทั่วไป สารเคมีใดๆ ที่มีสารองค์ประกอบหลักมากกว่า 1 ชนิดที่มีส่วนผสมเกิน 10% โดยน้ำหนัก และไม่เกิน 80% โดยน้ำหนัก (“As a general rule, a substance, defined by its composition, in which more than one main constituent is present in a concentration ³ 10% (w/w) and < 80% (w/w)”) Ref: Guidance for identification and naming of substances under REACH and CLP, ECHA, May 2017 |
สารที่น่าเป็นห่วง | สารต่อไปนี้ถือเป็นสารที่น่าเป็นห่วง
สารที่น่าเป็นห่วงมาก ที่อาจเป็นส่งผลเสียร้ายแรงต่อชีิวิตมนุษย์หรือสิ่งแวดล้อม สารเหล่านี้อาจถูกเลือกให้เข้าไปอยู่ใน Annex XIV ของ REACH หรือเป็น Candidate List สำหรับการเลือกให้เข้าไปอยู่ใน Annex XIV |
สารที่ตั้งใจปล่อย | ตั้งใจปล่อย:โดยทั่วไปแล้ว “ตั้งใจปล่อย” มีความหมายเชื่อมโยงถึงหน้าที่การทำงานของผลิตภัณฑ์ ซึ่งหมายความว่า หากไม่มีการปล่อยสารเคมีนี้แล้ว ผลิตภัณฑ์จะไม่สามารถทำงานที่ต้องการได้ (ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว ไม่ใช่หน้าที่หลักแต่เป็นฟังก์ชั่นเสริม) ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์ที่มีกลิ่น – การจะทำให้ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นได้ ต้องมีการปลดปล่อยสารให้กลิ่นให้ผู้ใช้สูดดม สารที่ปลดปล่อยออกมาเนื่องจากผลิตภัณฑ์ถูกใช้งานเป็นเวลานาน หรือเกิดจากการสึกหรอ หรือเป็นผลจากอุบัติเหตุ ไม่ถือเป็นการตั้งใจปล่อย เนื่องจากการปลดปล่อยลักษณะนี้ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ (ที่ผู้ผลิตมุ่งหวัง) “As a general rule, ‘intended release’ relates to a function of an article. This means if the substance were not released, the respective function (which in most cases is not the main, but an accessory function) would not be achieved. In case of scented articles for example, the fragrance substances need to be inhaled in order for the article to be smelled. Substance which are released because of ageing of articles, because of wear and tear or as a result of accidents, are not intended releases, as the release as such does not provide a function in itself. Further explanation of the term intended release can be found in Appendix 1 of this guidance.” Ref: “Guidance on requirements for substances in articles”, ECHA, May 2008 |
มี 104 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์